วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

งานวิจัย (วช)




งานวิจัยเพื่อการพัฒนาการศึกษา (เล่ม 3)

Title
การนำเสนอแนวทางการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนของโรงเรียนประถมศึกา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา
Title Alternative
SOME PROPOSED GUIDLINED FOR ACADEMIC RESOURCES DEVELOPMENT IN PRIMARY SCHOOLS UNDER THE JURISDICTION OF PHRANAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCIAL EDUCATION OFFICE

Address: 78/21ต.ประตูชัยอ.พระนครศรีอยุธยาจ.พระนครศรีอยุธยา
Organization : โรงเรียนราฏร์นิรมิตร
Subject
Classification :.DDC: 370.1523ว491ก
Description
Abstract:     The purposes of this research were : 1) to study the appropriate guidelines & for academic esources development in primay schools, 2) to examine the feasibility of the guidelines, and 3) u, propose the appropriate and feasible guidelines for academic resources development in primary schools. The samples were 17 educational administration experts and 198 school administrators. The research instruments were 2 sets of questionnaires arranged for the educational administration experts and school administrators respectively. The data were analyzed in terms of percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test.
    The findings revealed :
    1. The educational administration experts agreed that 45 items within 4 aspects of the guidelines for academic resources development were appropriate.
    2. The school administrators also agreed that 43 items within 4 aspects of the guidelines for academic resources development were feasible and practical.
    3. Thus, both educational administration experts and school administrators agreed that 4 items within 4 aspects of the guidelines for academic resources development were appropriate and feasible, 1) 13 items of the guidelines for personnel development, 2) 9 items of the guidelines for informational technology development, 3) 12 items of the guidelines for building and environment development, and 4) 9 items of the guidelines for activity development.
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
Address: พระนครศรีอยุธยา
Email: http://www.aru.ac.th/
Date
Created: 2547-01-00
Modified: 2550-07-12
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
ISBN: 9744291192
Source
วิจัย
CallNumber: ว1413
Language
tha
Relation
คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี
คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มคริตศาสตร์
คุ่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มภาไทย
Coverage
Spatial: พระนครศรีอยุธยา
Temporal: 2004
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
RightsAccess

งานวิจัยเพื่อการพัฒนาการศึกษา (เล่ม 2)

Title
สภาพและปัญหาการบริหารแหล่งเรียนรู้ภุมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4
Title Alternative
School condition on local wisdom the learning resource administration on local wisdom under the office of khonn kaen educaional service area 4

Classification :.DDC: วพ371.1
Description
Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษา และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการบริหารแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4 จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ ขนาดสถานศึกษา และเขตที่ตั้งสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 340 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ หาค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที( t-test )
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ศูนย์วิทยบริการ
Address: เลย
Email: library@lru.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Date
Modified: 2554-12-01
Issued: 2554-11-22
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
Source
CallNumber: วพ371.1
Language
tha
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
RightsAccess:

งานวิจัยเพื่อการพัฒนาการศึกษา (เล่ม 1)


Title
การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม
Title Alternative
The implementation of learning resources according to the national education act B.E. 2542 of thesecondary schools under the department of general educationin nakhon pathom province

Organization : ผู้อำนวยการโรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม
Subject
Classification :.DDC: 371.1523
Description
Abstract: บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม 2) เปรียบเทียบการบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่การปฏิบัติงาน ขนาดโรงเรียนและทำเลที่ตั้งของโรงเรียน และ 3) ศึกษาความต้องการใช้แหล่งเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม โดยศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติ บุคคล สมาคม สถานที่ หน่วยงาน เทคโนโลยี กิจกรรม วัฒนธรรมและประเพณี ตามแนวคิดหลักการบริหารวงจรคุณภาพของเดมิ่งประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผน การดำเนินงาน การตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไข กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการและ หัวหน้าหมวดวิชา โรงเรียนละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 290 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ชุด ชุดที่ 1 เป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และชุดที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการวางแผนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านการดำเนินการ การปรับปรุงแก้ไข และการตรวจสอบ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ผู้บริหารโรงเรียนและหัวหน้าหมวดวิชา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการบริหารการใช้แตกต่างจากโรงเรียนขนาดใหญ่ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การบริหารการใช้แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนที่ตั้งในเขตเทศบาลกับโรงเรียนที่ตั้งนอกเขตเทศบาลแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับความต้องการใช้แหล่งเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ผู้บริหารโรงเรียนทุกโรงต้องการใช้ตรงกัน ทั้ง 4 ประเภท คือ แหล่งเรียนรู้ที่เป็นธรรมชาติ ได้แก่ ต้นไม้ อากาศ แสงแดด และดิน แหล่งเรียนรู้ที่เป็นบุคคล สมาคม ได้แก่ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้นำท้องถิ่น ศิษย์เก่า และคหบดีผู้ประสบความสำเร็จในอาชีพ แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานที่ สถาบัน หน่วยงาน ได้แก่ วัด โบสถ์ สุเหร่าหรือ สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา สถานประกอบการ มหาวิทยาลัย และแหล่งเกษตรกรรม ส่วนแหล่งเรียนรู้ที่เป็นเทคโนโลยี กิจกรรม วัฒนธรรม และประเพณี ได้แก่ กิจกรรม โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีพื้นบ้าน ตำราเอกสารทางวิชาการ ประเพณีและวัฒนธรรม ส่วนแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนผู้บริหารทุกโรงต้องการใช้ตรงกัน คือ ห้องสมุดโรงเรียน และรองลงมาเป็นสวนสมุนไพร ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการภาษา ห้องแนะแนวและพิพิธภัณฑ์ตามลำดับ The purposes of this research were 1) to study the levels of the implementation of learning resources according to the National Education Act B.E. 2542, 2) to compare the levels of the learning resource implementation of the schools regarding the administrators’ position, school, size and school location, and, 3) to study the administrators’ needs of the learning resource implementation; namely, nature, people, associations, places, institutes, workplaces, technology, activities, cultures and traditions, based on the Deming’s Cycle of Quality Management, which included planning, doing, checking, and acting. The research sample consisted of 290 school administrators, including directors, assistant directors on academic affairs, and heads of subject sections. There were two sets of research instruments; the first one was a questionnaire constructed in the form of five rating scales, and the second one was a structured interviewing form. The statistics used for analyzing the acquired data were percentage, arithmetic means, standard deviations, one way ANOVA, and t-test. The research findings were as follows: In general, the implementation of learning resources according to the National Education Act B.E. 2542 of the secondary schools under the Department of General Education in Nakhon Pathom Province was at the average level. However, when considered by individual aspects, the learning resource implementation of planning was at the high level whereas the implementation of doing, checking, and acting were at the average level. The comparisons revealed significant differences at the .05 level on the opinions about the implementation between the directors and the heads of subject sections, and so did the implementation between the specially large schools and the large, the medium, as well as the small ones. However, there was no significant difference on the learning resource implementation between the schools located in and outside the municipal areas. For the needs of the learning resource implementation, all the school administrators needed four types of learning resource implementation namely 1) the natural ones, which included trees, air, sunshine, and soil, 2) people and associations, which included local basic educational committees, community leaders, alumni, and successful and well-to-do people, 3) places, institutes and workplaces, which included temples, churches, mosques, or other religious centers, business, universities, and agricultural sites, and, 4) technology, activities, cultures and traditions, which included community activities, audio-visual equipment, local technology, texts, and local traditions and cultures. Additionally, the administrators needed the implementation of internal learning resources in school namely, libraries, herbal gardens, computer centers, language laboratories, guidance centers and museums respectively.
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: นครปฐม
Email: libnpru55@gmail.com
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Date
Created: 2545
Modified: 2549-10-02
Issued: 2548-08-08
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf
Source
CallNumber: ว 371.1523 ส732ก 2545
Language
tha
Coverage
Spatial: นครปฐม
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.116499 วินาที

การใช้โปรแกรม E- MIS


ข้อมูลเกี่ยวกับตัวโปรแกรมและสิ่งที่ต้องกรอกข้อมูลในระบบ emis  ประกอบด้วย

1. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน   ให้ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน และตรวจสอบพิกัด         gis ถ้าไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้ถูกต้อง

2. ข้อมูลครูและบุคคลากร  ตอนนี้ได้นำเข้าข้อมูลจากระบบเดิมคือปี 2560 ข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับปัจจุบัน ให้โรงเรียนตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง

3. ข้อมูลการศึกษาเพื่อปวงชน (EFA) ให้โรงเรียนแก้ไขข้อมูลให้เป็นปี 2561 แล้วตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้อง

4. ส่วนระบบอื่นๆ ที่มีอยู่ในตัวโปรแกรมนั้น เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาเพิ่มเติมเพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนมีข้อมูลใช้ในระบบเดียวกัน หากต้องการข้อมูลก็ให้โรงเรียนกรอกข้อมูลในส่วนอื่นๆ ได้ด้วย

5. ขณะนี้กำลังจัดทำระบบรายงานข้อมูลที่โรงเรียนกรอกเข้ามาในระบบ emis เพื่อให้เขตพื้นที่การศึกษา export นำข้อมูลกลับไปใช้ที่เขตพื้นที่ได้ด้วย

1. ข้อมูลส่วนตัวผู้ใช้งานใช้สําหรับการจัดการข้อมูลส่วนตัวผู้ใช้งาน คลิกที่เมนู “ข้อมูลส่วนตัวผู้ใช้งาน” เพื่อปรับปรุง/แก้ไขข้อมูลผู้ใช้งานระบบ



ผู้ใช้งานระบบสามารถปรับปรุงข้อมูลผู้ใช้งานระบบ รหัสผ่าน และเพิ่มรูปภาพผู้ใช้งานระบบได้ 

3. ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน ใช้สําหรับจัดการข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน คลิกที่เมนู “ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน”







วันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

ผลงานของปัณณธร แก้วเขียว

โรงเรียนบ้านคลองสว่างอารมณ์
นายปัณณธร   แก้วเขียว
รหัส 5901209347029
เลขที่ 26
สาขา บริหารการศึกษา  รุ่นที่ 3
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธนบุรี

\